Page 97 - หนูจะกินอะไรดี
P. 97

สูงวัย...
                                                       อายุยืน



                                                           ข้อมูล: สำนักส่งเสริมสุขภาพ

                            ประเทศไทย
                        กำลังก้าวเข้าสู่สังคม            ออกกำลังกาย
                        ผู้สูงอายุ  เทียบจาก     ออกกำลังกายทุกส่วนสัด  กระตุ้นจังหวะ
                        อัตราประชากรทั้งหมด  การเต้นหัวใจ ผู้สูงอายุควรเคลื่อนไหวออกกำลังกาย
                       ข อ ง ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย         สม่ำเสมอ และเหมาะสม ซึ่งมีอยู่หลากหลายวิธี เช่น
                  64.5  ล้านคน  ในจำนวนนี้เป็น      ยืดเส้น ยืดสาย ยืดเหยียด ช่วยให้กล้ามเนื้อแข็งแรง
                ผู้สูงอายุมากกว่า 60 ปี 9.4 ล้านคน  เดินเร็ว ขี่จักรยาน ว่ายน้ำและหลีกเลี่ยงการแข่งขัน
               และเพิ่มขึ้นปีละ 500,000 คน ซึ่งคาดว่า  ออกแรงเกินกำลัง ความเร็วสูง เกร็ง เบ่ง ยกน้ำหนัก
                ภายในปี 2568 ไทยจะก้าวสู่สังคม     หรืออยู่ในสถานที่ร้อนอบอ้าว  อากาศไม่ถ่ายเท
                 ผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ (Aged Society)  และอยู่กลางแดดจ้า
                  คือ  มีผู้สูงอายุ  14.4  ล้านคน            อารมณ์
                  หรือเกินร้อยละ 20           อารมณ์รื่นเริงยินดี  ชีวีสดใสด้วยรอยยิ้ม
                       การก้าวสู่สังคมผู้สูงอายุ  มองโลกในแง่บวก  ไม่เครียด  จะช่วยให้มีจิตใจ
                     ก่อการเปลี่ยนแปลงทาง  แจ่มใส  และให้คำปรึกษาคำแนะนำแก่ลูกหลาน
                     โครงสร้างประชากร  ส่งผล  และคนรอบข้างได้ด้วย
                     กระทบด้านอื่นๆ โดยเฉพาะ       อดิเรก
      ด้านสุขภาพ  สำนักส่งเสริมสุขภาพ  กรมอนามัย           สร้างสรรค์งานอดิเรก เพิ่มพูนคุณค่า เกื้อกูลสังคม
      ในปี 2552 พบว่า มีผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป ร้อยละ 85  โดยหากิจกรรมงานอดิเรกที่ชอบ ทำแล้วเพลิดเพลิน
      หรือ  6  ล้านคน  ดูแลตนเองได้  อีกร้อยละ  15       และมีคุณค่าทางจิตใจ  เช่น  อ่านหนังสือธรรมมะ
      หรือ  1  ล้านคน  เป็นผู้สูงอายุที่นอนติดเตียง         ฟังเทศน์ ฟังธรรม พบปะสังสรรค์
      ติดบ้าน และต้องพึ่งพิงคนอื่น โรคเรื้อรังที่พบมาก      ให้คำปรึกษาแนะนำ ฟังเพลง ปลูกต้นไม้
      ในผู้สูงอายุคือ  ความดันโลหิตสูง  เบาหวาน             อนามัย
      โรคอ้วนลงพุง  และข้อเสื่อม  ผู้สูงอายุส่วนใหญ่     อนามัยดี  ชีวีมีสุข  นำพาอายุยืนยาว
      สายตาไม่ดี มองเห็นไม่ชัดเจน มีปัญหาบดเคี้ยวอาหาร  สร้างเสริมพฤติกรรมสุขภาพที่ดี  หมั่นตรวจและ
      เนื่องจากเหลือฟันแท้ในปากไม่ถึง 20 ซี่    รักษาสุขภาพ ปฏิบัติตนให้ถูกสุขลักษณะ ควรตรวจ
          ปัญหาเหล่านี้ หน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน  สุขภาพอย่างน้อยปีละครั้ง ดูแลสุขภาพช่องปากและ
      ควรเร่งรองรับอย่างเหมาะสมและต่อเนื่อง แต่การ    ฟัน งด ละ เลิก อบายมุข บุหรี่ เหล้า ของมึนเมา
      เตรียมความพร้อมด้วยการดูแลสุขภาพตนเอง      และสารเสพติด
      เพื่อเป็นผู้สูงวัยที่มีอายุยืนยาวเป็นสิ่งที่สำคัญที่สุด       รวมทั้งอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ดีมี
      ซึ่งวิธีที่จะช่วยให้ร่างกายแข็งแรงสดใสอยู่เสมอ มีดังนี้   อากาศบริสุทธิ์  ขับถ่ายเป็นประจำทุกวัน
            อาหาร                        ระมัดระวังอุบัติเหตุ  เพียงเท่านี้การมีอายุ
          กินอาหารให้ครบ  5  หมู่  เน้นย่อยง่าย        ยืนยาวสำหรับผู้สูงวัยก็ไม่ไกลเกินเอื้อม
      และสะอาด  อาหารที่ควรหลีกเลี่ยง  คือ  อาหาร        ที่สำคัญคนในครอบครัวและสังคมควรดูแล
      ที่มีไขมันสูง  หวานจัด  เค็มจัด  และเครื่องดื่ม         เอาใจใส่  จะช่วยต่อชีวิต  และลมหายใจให้
      ที่มีแอลกอฮอล์                     ผู้สูงวัยได้ยืนยาวเลยทีเดียว
   96  กรมอนามัย ส่งเสริมให้คนไทยสุขภาพดี
   92   93   94   95   96   97   98   99   100   101   102