Page 33 - ThaiVersion
P. 33

ซึ่งเป็นแรงจูงใจที่อยู่เบื้องหลังการสร้างโครงการหลวงต่างๆ โดยที่พระองค์ทรงสละทรัพย์สินส่วนพระองค์ใน

                 การดำาเนินโครงการต่างๆ”


                 “มีอยู่วันหนึ่ง ในปี 1969 พระองค์เสด็จฯ เยือนสถานีวิจัยที่ดำาเนินการโดยมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์     ที่ตั้ง
                 อยู่ใกล้กับพระตำาหนักภูพิงค์ฯ  เหนือเมืองเชียงใหม่  พวกเขาได้นำาเข้าพันธุ์ผลไม้จากต่างประเทศ  และ
                 พยายามที่จะปลูกผลไม้เหล่านี้ในพื้นที่สูงและอากาศหนาวเย็น   พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯทรงมี

                 พระราชดำาริว่า  ถ้าหากพระองค์ทรงแนะนำาการปลูกผลไม้เมืองหนาว  ผัก  ดอกไม้  แก่ชนเผ่าบนเนินเขา
                 ได้  พวกเขาจะสามารถขายผลผลิตเหล่านี้ให้กับตลาดที่ราบลุ่มได้ในราคาที่สูงมาก  พระองค์ทรงประทาน
                 ตำาแหน่งผู้จัดการของโครงการแก่ข้าพเจ้า  และผู้ปฏิบัติงานจากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์  มหาวิทยาลัย

                 เชียงใหม่และมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ยังได้อาสาสมัครช่วยเหลืองานในโครงการอีกด้วย”


                 “พวกเราร่วมงานกับเจ้าหน้าที่จากสำานักงานบริการวิจัยอเมริกัน (American Research Service: ARS)
                 ที่สนับสนุนทุน และเป็นผู้มีความเชี่ยวชาญในการสร้างฟาร์มเกษตรทดลองในอ่างขาง (140 กิโลเมตร ทาง
                 ตอนเหนือของเชียงใหม่)  โครงการแรกของพวกเราคือ  การปลูกต้นพีช  (peach)  และประสบความสำาเร็จ

                 อย่างมาก ดังนั้น เราจึงได้ดำาเนินการปลูกผักและผลไม้อื่นๆ ด้วย”


                 “ในปัจจุบัน ชนเผ่าจำานวนมากมีรถขับ และมีถนนหนทางที่ดี รวมทั้งมีไฟฟ้า น้ำาประปาและโรงเรียน คน

                 หนุ่มสาวชาวเผ่าเรียนจบมหาวิทยาลัย และกลับไปทำางานที่ไร่ของพวกเขา”


                 “ในขณะนี้ มีศูนย์พัฒนา 38 แห่ง แต่ละศูนย์กำากับดูแลประมาณ 8 หมู่บ้าน และมีทีมผู้เชี่ยวชาญในการ
                 ขยายพันธุ์ผลไม้ ดอกไม้ พืชผัก และอื่นๆ มีหน่วยงานด้านสุขภาพพันธุ์พืชเพื่อหยุดยั้งการใช้ ยาฆ่าแมลง
                 และสารกำาจัดศัตรูพืช นอกจากนี้ พวกเรายังมีโครงการขยายชุมชน และโครงการส่งเสริมสุขภาพอีกมากมาย

                 “และเมื่อนักท่องเที่ยว/ ผู้มาเยี่ยมเยือน มาที่โครงการ พวกเขาจะได้ชมวิวทิวทัศน์ที่สวยงาม เช่นเดียวกับ
                 ผู้คนที่พวกเขาไม่เคยพบเห็นมาก่อน และพวกเขาสามารถซื้อผลิตภัณฑ์ต่างๆในราคาถูกอีกด้วย”



                 ความงดงามตามธรรมชาติและทัศนคติที่ผ่อนคลายของทั้งชนเผ่าและชาวบ้านไทยที่สามารถดึงดูด ให้หม่อม
                 เจ้าภีศเดช ดำาเนินการอย่างต่อเนื่อง เพื่อดึงดูดนักท่องเที่ยวเข้าไปยังพื้นที่  ณ ที่แห่งนั้น พวกเขาได้ใช้เวลา
                 ในการเรียนรู้วัฒนธรรมของชนเผ่าดั้งเดิมในหมู่บ้าน  สำารวจธรรมชาติโดยการเดินป่าและ  ล่องแม่น้ำา  และ
                 เรียนรู้ความสำาคัญของช้างในวิถีชีวิตพื้นเมืองของชาวภาคเหนือ  ในกระบวนการ  พวกเขายังได้เรียนรู้เกี่ยว
                 กับผู้คนที่หลากหลาย เช่น ชาวลาวและชาวพม่า ผู้ซึ่งหลอมรวมการสร้างวัฒนธรรมล้านนา และศิลปะและ

                 สิ่งประดิษฐ์ยอดเยี่ยมจำานวนมากที่ประสบความสำาเร็จเป็นอย่างยิ่ง
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38