Page 28 - ThaiVersion
P. 28

ไปเพื่อปรับปรุงการไหลของน้ำา  อ่างเก็บน้ำาถูกสร้างขึ้นเพื่อเก็บน้ำาส่วนเกินในช่วงน้ำาท่วม  และเก็บไว้ใช้ในช่วงหน้าแล้ง
            พระองค์ทรงประทานนามแก่เทคนิคที่พระองค ทรงโปรดปราน ว่า “วิธีการแก้มลิง (Monkey’s Cheeks Approach)”

            เป็นที่สังเกตได้ว่า ลิงจะเก็บกล้วย ไว้ในกระพุ้งแก้มสำาหรับการบริโภคในเวลาต่อมา  พระองค์ทรงสนับสนุนการสร้าง
            อ่างกักเก็บน้ำาเพื่อนำาน้ำา ไปใช้ประโยชน์ในภายหลัง การปกป้องแหล่งต้นน้ำาเป็นกุญแจสำาคัญในการอนุรักษ์ป่า ทั้งสอง
            พระองค์ทรงมีส่วนร่วมในการปลูกป่าในพื้นที่ระดับสูงเช่นเดียวกับพื้นที่ชุ่มน้ำาและป่าชายเลนตามชายฝั่ง  โดยเฉพาะ
            อย่างยิ่งในภาคใต้  เพื่อให้การทรงงานของพระองค์ประสบผลสำาเร็จ  พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ  และพระราชวงศ์

            ทรงประทับอยู่ในพื้นที่ชนบทเป็นเวลาถึง 8 เดือน ตลอดทั้งปี จนกระทั่ง มีความจำาเป็นที่จะต้องลดการ ทรงงานและ
            กิจกรรมต่างๆลงไป เนื่องด้วยทรงพระประชวร


            ในปี 1988 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ทรงดำาเนินแนวทางการพัฒนาชนบทของพระองค โดยการสถาปนามูลนิธิ

            ชัยพัฒนาขึ้น เพื่อระดมทุนและเร่งดำาเนินโครงการพัฒนาต่างๆ ในความพยายามที่จะปรับปรุงนี้ งานด้านการพัฒนา
            ถูกแบ่งประเภท  และแบ่งตามภูมิภาค  การทรงงานภายใต้โครงการต่างๆเหล่านี้  เกี่ยวข้องกับการเกษตรกรรม  สิ่ง
            แวดล้อม  การสาธารณสุข  การสนับสนุนส่งเสริมการสร้างอาชีพ  การจัดการแหล่งน้ำา  การคมนาคมสื่อสารและการ
            ประชาสงเคราะห์ (Public Welfare)



            “โครงการภายใต้พระบรมราชูปถัมภ์” เหล่านี้ เป็นโครงการที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ทรงประทานคำาปรึกษา
            รวมถึงโครงการสารานุกรมไทยสำาหรับเยาวชน    โครงการพจนานุกรม  (The  Dictionary  Project)  และโครงการ
            พัฒนาหมู่บ้าน สหกรณ์เนินดินแดง (The Din Daeng Cooperative Village Development Project) หลักแนวคิด

            ที่สำาคัญของมูลนิธิ คือการส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาอย่างยั่งยืน (Sustainable Development) และการพึ่งพา
            ตนเอง (Self-Reliance) ผ่านการมีส่วนร่วมของท้องถิ่น ประชานชนถูกรวมเข้าไว้ในการพิจารณา และความคิดเห็น
            ของพวกเขาจะนำาเข้าไปรวมไว้ในแผนต่างๆ ในการปาฐกถา วันที่11 กรกฎาคม ปี 1996 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่
            หัวฯ ทรงตรัสถึง หลักการเหตุผลสำาหรับการทำางานของมูลนิธิไว้ ดังนี้



            “…การปฏิบัติอย่างเร่งด่วนฉับพลันมีความจำาเป็น  เพราะปัญหาที่เกิดขึ้นจะต้องได้รับการจัดการแก้ไขอย่างทันท่วงที...
            การกระทำาดังกล่าวไม่สามารถดำาเนินการโดยรัฐบาล   เนื่องจากกฎระเบียบที่ซับซ้อนและกฎระเบียบที่อาจเป็นการ
            ขัดขวางไม่ให้เกิดการแก้ปัญหาที่เหมาะสมและทันกาลต่อการแก้ไขปัญหา... การดำาเนินการของมูลนิธิในโครงการต่างๆ

            เป็นตัวอย่างหนึ่ง และถ้ารัฐบาลเห็นว่าโครงการเหล่านี้มีประโยชน์คุ้มค่า รัฐบาลสามารถดำาเนินการต่อไป หรือสามารถ
            ปรับใช้วิธีการของพวกเราในโครงการต่างๆของรัฐบาลได้”


            ในการส่งเสริมโครงการของพระองค์  พระองค์ทรงเน้นการลดขั้นตอนและกระบวนการทำางานลงเพื่อการดำาเนินการ

            ที่สำาคัญ  “จงทำาให้มันง่ายเข้าไว้”  เป็นวลีที่พระองค์ทรงตรัสอยู่เสมอ  พระองค์ทรงมีความรู้สึกว่าการมีความคิด
            สร้างสรรค์เป็นสิ่งที่สำาคัญกว่าการติดอยู่กับกระบวนการทำางานที่ซ้ำาซาก   การประเมินสถานการณ์และการกำาหนด
            กระบวนการปฏิบัติสำาคัญมากกว่าการยึดมั่นในตำารา  พระองค์ยังทรงเน้นหลักคำาสอนของพระพุทธศาสนา  นั่นคือ
            การรู้จักประมาณตน (Moderation) พระองค์ทรงรู้สึกว่า การยิ่งใหญ่กว่า ไม่ได้เป็นสิ่งที่ดีกว่า (Bigger is not Better)

            ประชาชนควรจะได้รับการสนับสนุนเพื่อให้มั่นใจได้ว่า  พวกเขามีทุกอย่างเพียงพอที่จะกินดีอยู่ดี  แต่ไม่มากจนเกินไป
            พวกเขาควรจะดำาเนินรอยตามผู้ประกอบการที่สร้างประโยชน์แก่สังคม  มากกว่าการให้ความสำาคัญกับยอดขายกำาไร
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33