Page 27 - ThaiVersion
P. 27

เงิน (silver barb) ปลาดุก (catfish) และแม้กระทั่งกบ ซึ่งได้กลายมาเป็นหลักของการผลิตในฟาร์ม พระบาทสมเด็จ
            พระเจ้าอยู่หัวฯ  ทรงแปรรูปแกลบ  ซึ่งแกลบจะถูกอัดเป็นก้อนเพื่อใช้เป็นถ่าน  โดยต้องการกำาจัดการตัดไม้ทำาลายป่า

            ของชาวบ้านเพื่อวัตถุประสงค์ในการปรุงอาหาร ในขณะเดียวกัน พระองค์ทรงพัฒนาเชื้อเพลิงชีวภาพจากน้ำามันปาล์ม
            ที่ผลิตในท้องถิ่น ผลลัพธ์คือไบโอดีเซลที่ผลิตได้ถูกนำามาใช้เป็นสารเติมแต่งน้ำามันเชื้อเพลิงมาตรฐานในปัจจุบัน โครงการ
            ทั้งหมดนี้  ได้รับการสนับสนุนจากทุนทรัพย์ส่วนพระองค์  ในเขตพื้นที่ไร่นาที่อยู่ห่างไกลจากพระราชวัง  พระองค์ทรง
            พยายามที่จะใช้ปัจจัยการผลิตในท้องถิ่นในการแก้ไขปัญหาเก่าๆ เช่น การสูญเสียความอุดมสมบูรณ์ของดิน หญ้าแฝก

            (Vetiver  Grass)  เป็นพืชพื้นเมืองที่มีอายุยืนยาว  และเจริญเติบโตเป็นกระจุกหนาแน่น  ระบบรากลึกของหญ้าแฝก
            เหมาะสำาหรับการลดการตกตะกอน และการรักษาเสถียรภาพของดินเพื่อเพิ่มผลผลิตและการอนุรักษ์แหล่งน้ำาอันมีค่า
            นอกจากนี้ หญ้าแฝกยังสามารถปลูกเป็นผนังเพื่อดักตะกอนดินและช่วยรักษาหน้าดิน ซึ่งจะช่วยลดการชะล้างพังทลาย
            ของดินได้อีกด้วย ด้วยผลการทรงงานของพระองค์ ชาวไร่ชาวนาสามารถปลูกหญ้าแฝกเพื่อยืดอายุการใช้งานของพื้นที่

            เพาะปลูกของพวกเขาได้ด้วยตนเอง


            การชลประทานถือเป็นความสนใจอีกอย่างหนึ่งของพระองค์  ภาพสัญลักษณ์ของกษัตริย์ที่ทรง  พระราชดำาเนินพร้อม
            แผนที่ในพระหัตถ์  เป็นคุณลักษณะที่คุ้นเคย  ปรากฏอยู่บนสื่อสิ่งพิมพ์ต่างประเทศ  พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ

            ทรงศึกษาในสาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร์มาก่อน  จนกระทั่งพระองค์ได้ทรงเปลี่ยนสาขาวิชาที่ทรงศึกษาเป็นสาขาวิชา
            รัฐศาสตร์และกฎหมาย  ณ  มหาวิทยาลัยโลซาน  เพื่อเป็นการเตรียมพร้อมสำาหรับบทบาทใหม่นั่นก็คือ  การขึ้นครอง
            ราชย์เป็นกษัตริย์ในปี 1946 พระองค์ทรงนำาความรู้ ที่ร่ำาเรียนมาตลอดพระชนม์ชีพ และความสนใจของพระองค์ มา
            ปรับใช้ในการออกแบบวิธีการใหม่สำาหรับการทดน้ำาในทุ่งนาและการบำาบัดน้ำา ในปี 1993 พระองค์ทรงกลายมาเป็น

            พระมหากษัตริย์เพียงพระองค์เดียวของโลก    ที่ได้รับสิทธิบัตรในการประดิษฐ์คิดค้นเครื่องเติมอากาศบำาบัดน้ำาเสีย
            (Waste Water Aeration Machine) ที่มีชื่อเรียกว่า “กังหันชัยพัฒนา (Chai Pattana)”


            ในปี 1971 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ทรงริเริ่มโครงการฝนหลวง เพื่อนำาน้ำาเข้าสู่พื้นที่แห้งแล้ง และเก็บกักไว้ใน

            อ่างเก็บน้ำา พระองค์ทรงสนับสนุนโครงการสร้างเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ (Pasak Jolasid Dam Project) ซึ่งเปิดใช้อย่าง
            เป็นทางการ  เมื่อวันที่  15  มิถุนายน  ปี  1998  เขื่อนจะทำาหน้าที่ในการส่งน้ำาชลประทานให้กับเกษตรกรภาคกลาง
            และระบายน้ำาที่ท่วมเป็นประจำาทุกปีไกลออกไปทางทิศใต้  นอกจากนี้  พระองค์ยังทรงออกแบบระบบ  “ฝายชะลอน้ำา
            (check-dams)”  ขนาดเล็ก  เพื่อควบคุมการไหลของน้ำาในช่วงฤดูมรสุม  หลังจากที่ฝนตก  น้ำาบาดาลจะถูกเก็บไว้ใน

            อ่างเก็บน้ำาของฝายชะลอน้ำาเหล่านี้  และยังเก็บกักน้ำาไว้ใช้ในช่วงฤดูร้อน  นอกจากนี้  ฝายชะลอน้ำายังสามารถชะลอ
            ความเร็วของกระแสน้ำาและกักตะกอน เพื่อป้องกันการไหลของกระแสน้ำาลงไปสู่อ่างเก็บน้ำาด้านล่าง


            พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ทรงใช้เทคนิคมากมาย เพื่อทำาให้มั่นใจได้ว่าน้ำาสะอาดที่นำาไปใช้ในกิจวัตรประจำาวันของ

            ประชาชนนั้น ปราศจากสารปนเปื้อน  ทะเลสาบถูกสร้างขึ้นมาโดยที่เศษตะกอนทั้งหลายจะถูกทำาให้ตกตะกอน และ
            กำาจัดออกไป พระองค์ทรงสนับสนุนการสร้างพื้นที่ชุ่มน้ำาที่ประกอบด้วยหญ้าแฝก (Vetiver) หญ้าเนเปียร์ (Napier
            Grass) หญ้าซอยเซีย อัมมูรา (Zoysia Ammura) และ หญ้าขน (Brachiaria Mutica) ซึ่งทำาหน้าที่กรองน้ำาโดย
            ธรรมชาติ นอกจากนี้ สวนป่าชายเลนเทียมจะดำาเนินการกรองทำาความสะอาดน้ำาที่ไหลผ่านโดยธรรมชาติเช่นเดียวกัน

            การควบคุมน้ำาท่วม เป็นอีกหนึ่งวัตถุประสงค์ในความพยายามด้านการชลประทานของพระองค์ เขื่อนและคลองต่างๆ
            ผันน้ำาและระบายน้ำาส่วนเกิน รวมทั้งวัชพืชและสิ่งกีดขวางต่างๆ ถูกกำาจัดออกไป ลำาคลองที่คดเคี้ยวมักจะถูกขยายออก
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32