Page 30 - ThaiVersion
P. 30

สัตว์ และการสร้างถนนและทางเดิน



            นอกจากนี้  ชาวบ้านยังได้รับการสนับสนุนให้รวมตัวกันจัดตั้งสหกรณ์  เพื่อที่จะได้รับเมล็ดพันธุ์และปุ๋ยในอัตราที่เป็น
            ของกลุ่ม มีตลาดการผลิตร่วมกัน การได้รับเงินกู้ยืม (ถ้าหากมีความจำาเป็น) การสวัสดิการสังคมผู้สูงอายุ ผู้เจ็บป่วย
            และบุคคลด้อยโอกาสในสังคม  และเพื่อเป็นทุนการศึกษาแก่เยาวชน  ผลกระทบของเศรษฐกิจพอเพียงและทฤษฎีใหม่
            ได้ถูกเผยแพร่ขยายออกไป ทำาให้ผู้ที่มาเยี่ยมเยือนประเทศไทยสนใจที่จะเรียนรู้มากขึ้น ด้วยเหตุนี้  สำานักพระราชวัง

            จึงได้นำาความรู้เหล่านี้เผยแผ่ต่อไปยังคณะผู้แทนนักวิจัย  นักวิทยาศาสตร์  นักการทูตและผู้ทรงเกียรติอื่น  ๆ  จาก
            สาธารณรัฐประชาธิปไตยติมอร์-เลสเต สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลา  เลโซโท อัฟกานิสถาน บังคลาเทศ
            ภูฏาน ชิลี เยอรมนีอิสราเอลและอินโดนีเซีย



            ขณะที่บางคนอาจเห็นว่า หลักเศรษฐกิจพอเพียงสามารถนำาไปใช้ได้เฉพาะในชนบทและ ภาคเกษตรกรรม แต่ในความ
            เป็นจริงแล้ว    หลักเศรษฐกิจพอเพียงเป็นปรัชญาที่สามารถนำาไปประยุกต์ใช้ในลักษณะการทำางานทุกด้านของชีวิต
            ตั้งแต่การจัดการงบประมาณที่ใช้ในครัวเรือน จนถึงการจัดระเบียบกิจการด้านการเงินขององค์กรขนาดใหญ่ หลักการ
            นี้ เน้นหลักทางสายกลางในการใช้ชีวิต สนับสนุนให้พลเมืองอยู่อาศัยได้อย่างกลมกลืนกับธรรมชาติ สามเสาหลักของ

            ปรัชญานี้ ได้แก่ การรู้จักประมาณตน ความสมเหตุสมผล และภูมิคุ้มกันตนเอง ในขณะที่หลักการนี้สามารถนำามาใช้ได้
            ในทุกระดับของสังคม แต่หลักการนี้ต้องเริ่มมาจากปัจเจกบุคคล ขณะที่พวกเขากำาลังถูกรุมเร้าด้วยความยากลำาบากที่
            ต้องเผชิญในชีวิตประจำาวัน ชาวไทยจำานวนมากขึ้นมีการตระหนักถึงประโยชน์ของปรัชญาชีวิตนี้ ดังนั้น ภูมิปัญญาของ
            พระราโชวาทกษัตริย์ ได้สั่นสะเทือนผ่านทุกระดับของสังคม สร้างความแข็งแกร่งเพื่อประเทศที่เปี่ยมด้วยพลัง



            สมเด็จพระบรมราชินีนาถฯ  ทรงดำารงฐานะเป็นหุ้นส่วนที่สำาคัญในโครงการหลวงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ
            หลายโครงการ แต่เมื่อเร็วๆนี้ พระองค์ทรงค้นพบหนทางของพระองค์เอง ในขณะที่เกษตรกรและครอบครัวเกษตรกร
            ได้รับประโยชน์จากความคิดริเริ่มด้านเกษตรกรรมของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ   สมเด็จพระบรมราชินีนาถฯ

            ทรงตระหนักว่าผู้หญิงในครอบครัวเกษตรกร   มีความท้าทายของตนเอง และทักษะในการตอบสนองต่อความท้าทาย
            เหล่านี้  แทบทุกบ้านในชนบทม  การถักทอผ้าไหมหรือผ้าฝ้ายที่ชั้นล่างของบ้าน  โดยปกติแล้ว  ผู้หญิงจะทอผ้าที่
            สวยงามสำาหรับใช้ในครอบครัว ช่วงเดือนระหว่างฤดูกาลปลูกข้าว พระองค์ทรงตระหนักว่า ผลิตภัณฑ์เหล่านี้จะสร้าง
            รายได้     ในตลาดที่ห่างไกลถ้าตลาดเหล่านั้นได้รับการพัฒนา และถ้าผู้หญิงเหล่านี้ได้รับการสอนทักษะการจัดการ

            ธุรกิจที่จำาเป็น พวกเขาจะได้รับประโยชน์จากโอกาสนี้


            ในขณะเดียวกัน  สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ฯ  ทรงตระหนักว่าความสนใจต่องานศิลปะและหัตถกรรมแบบดั้งเดิม
            ได้เสื่อมถอยลง  และช่างฝีมือผู้สูงอายุได้ลดบทบาทลงไป  ทำาไมไม่ไห้ช่างฝีมือเหล่านี้สอนทักษะของพวกเขาแก่คน

            อื่น  ๆ  ซึ่งจะช่วยอนุรักษ์ศิลปะและสร้างรายได้ให้กับพวกเขาเหล่านี้?  ดังนั้น  ในวันที่  21  กรกฎาคม  ปี  1976
            สมเด็จพระบรมราชินีนาถฯ  ทรงจัดตั้งมูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพในสมเด็จ  พระนางเจ้าสิริกิติ์  พระบรมราชินีนาถ
            (The Foundation for the Promotion of Supplementary Occupations and Related Techniques: SUPPORT) ขึ้น
            โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อฝึกอบรมการผลิตงานหัตถกรรมแก่ผู้หญิงเหล่านี้  และนำามาซึ่งการเสริมรายได้ให้กับครอบครัว

            โครงการนี้เผยแผ่ขยายไปถึงผู้หญิงชนเผ่าชาวเขา  คนพิการ  คนยากจนและคนหนุ่มสาว  ในการอนุรักษ์ศิลปะและ
            หัตถกรรมนี้ ก่อให้เกิดงานศิลปะเครื่องเงินของชนเผ่าในภาคเหนือ ตะกร้าสานย่านลิเภาในภาคใต้ เครื่องถมเงินและ
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35