Page 9 - ThaiVersion
P. 9

ในช่วงเวลาเดียวกันนี้  พื้นที่บริเวณสามเหลี่ยมปากแม่น้ำาทางตอนใต้ซึ่งเป็นที่ตั้งของกรุงเทพในปัจจุบันกำาลังก่อตัวขึ้น
            จากการทับถมของดินตะกอน       พื้นที่บริเวณนี้เป็นพื้นที่โคลนขนาดใหญ่เช่นเดียวกับพื้นที่ในบริเวณปากแม่น้ำาในยุค

            ปัจจุบัน  จนกระทั่งเมื่อประมาณ 1,500 ปีที่แล้ว ดินตะกอนที่เริ่มทับถมได้เกิดเป็นพื้นที่โคลนขนาดใหญ่เปรียบเสมือน
            กับ “ทะเลโคลน”  และได้เริ่มมีการตั้งหลักแหล่งของชาวประมงพื้นเมืองที่สร้างที่อยู่อาศัยโดยใช้ใบจาก ชนพื้นเมือง
            เหล่านี้ได้เริ่มเพาะเลี้ยงหอยแมลงภู่และหอยนางรมซึ่งต่อมาได้กลายเป็นหนึ่งในเมนูหลักของอาหารไทยและเป็นที่นิยม
            ในหมู่นักท่องเที่ยว



            พื้นที่ส่วนใหญ่บริเวณตอนกลางของไทยในยุคนั้นเป็นพื้นที่ลุ่มน้ำา  นอกจากนี้ยังมีป่ารกทึบที่ปิดการเดินทางจากเหนือ
            ลงใต้จนกระทั่งเมื่อต้นศตวรรษที่  20  ที่เริ่มมีการสัญจรทางเรือตามแม่น้ำาลำาคลองเกิดขึ้นซึ่งเป็นการเดินทางเพียงวิธี
            เดียวที่สามารถทำาได้ในเวลานั้น   การสัญจรทางเรือจึงกลายเป็นเอกลักษณ์ของชาวไทยที่ถูกจดจำาในสายตาของชาว

            ยุโรป  ทักษะทางด้านการสัญจรทางเรือของชาวไทยเป็นที่กล่าวถึงในวารสารยุโรป  ซึ่งในศตวรรษที่  19  นักเดินทาง
            ได้ตั้งข้อสังเกตุว่าการที่ได้เห็นเด็กตัวเล็กๆพายเรือเดินทางไปมาในเมืองไทยนั้นกลายเป็นเรื่องปกติเสียแล้ว  แสดงให้
            เห็นว่า  “สายน้ำาคือบ้านที่แท้จริงของคนไทย”  ซึ่งยังคงเป็นเอกลักษณ์ที่สร้างความประทับใจให้กับนักท่องเที่ยวจนถึง
            ปัจจุบัน



            ทฤษฎีของความเป็นมาของชนชาติไทยอีกทฤษฎีหนึ่งคือเชื่อว่าถิ่นกำาเนิดของชนชาติไทยอยู่ทางตอนใต้ของประเทศ
            จีนทางตอนเหนือของแม่น้ำาโขง    ชาวไตซึ่งเป็นชนกลุ่มน้อยที่ใหญ่ที่สุดในจีนได้ถอยร่นลงมาทางใต้เพื่อหนีการรุกราน
            ของกองทัพมองโกเลีย ชาวไต (เงี้ยวหรือไทใหญ่) ซึ่งมีวัฒนธรรมและขนบธรรมเนียมประเพณีที่ใกล้เคียงกับชาวไทย

            ในปัจจุบันได้ลงมาตั้งถิ่นฐานทางแถบภาคเหนือและได้แตกออกเป็นหลายชนเผ่าซึ่งมีถิ่นฐานกระจายออกไปตามแนว
            ขอบของอาณาจักรเขมร  (ศตวรรษที่  6-13)  และได้สวามิภักดิ์ต่อจักรวรรดิขะแมร์  (เขมร)ที่ได้แผ่ขยายอิทธิพลมา
            สู่ทางตะวันตกของไทยจนถึงพรมแดนพม่าและทางตอนใต้ของเพชรบุรี     ซึ่งได้ทิ้งอิทธิพลทางด้านศาสนาและศิลปะ
            ในแบบเขมรผ่านการก่อสร้างโบราณสถานที่มีชื่อเสียงในปัจจุบัน  เช่น  ปราสาทหินพิมาย  ปราสาทหินพนมรุ้ง  และ

            เขาพระวิหาร หลักฐานของศิลปะเขมรยังได้ปรากฏในวัดสามแห่งที่มีกลิ่นอายของศิลปะเขมรซึ่งตั้งอยู่ใจกลางสุโขทัย


            หลังจากนั้น  อิทธิพลของอาณาจักรเขมรเริ่มเสื่อมกำาลังลงเรื่อยๆหลังจากปี  1180  ชาวไตได้ควบรวมกันและได้
            ก่อตั้งอาณาจักรขึ้นมาซึ่งปกครองโดยกษัตริย์องค์แรกที่มีพระนามว่าพ่อขุนศรีอินทราทิตย์ซึ่งเป็นผู้ปฎิวัติและยึดอำานาจ

            จากเขมรมาได้สำาเร็จในปี 1238 และภายหลังได้สถาปนากรุงสุโขทัยเป็นราชธานีทางตอนเหนือ หลังจากนั้น พ่อขุน
            รามคำาแหง (1279 - 1298) ซึ่งเป็นพระโอรสของพ่อขุนศรีอินทราทิตย์ได้รวบรวมอาณาจักรไทยให้เป็นปึกแผ่น มี
            การผลิตเครื่องถ้วยชามและเครื่องปั้นดินเผา ที่เรียกว่า “เครื่องสังคโลก” และส่งขายยังต่างประเทศผ่านเรือสำาเภาจีน
            ซากเรือสำาเภาโบราณยังคงพบได้ตามชายฝั่งของประเทศไทย กัมพูชา และเวียดนาม  รายได้จากการค้าขายในสมัยสุโขทัย

            ได้ทำาให้ราชอาณาจักรมีความรุ่งเรืองและได้ถูกยกให้เป็นมรดกโลกจากองค์การยูเนสโกซึ่งมีวัดวาอารามที่สวยงามใน
            แบบศรีลังกาปรากฏอยู่มากมาย (ได้รับอิทธิพลทางศาสนาและสถาปัตยกรรมจากเกาะทางตอนใต้ของอินเดีย) รวมถึง
            ศิลปะแบบศรีสัชนาลัยที่เป็นเมืองข้างเคียงซึ่งได้กลายเป็นแหล่งท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์ที่มีชื่อเสียงในปัจจุบัน



            หลังจากนั้นมาร่วมศตวรรษ  ผู้ปกครองอาณาจักรสุโขทัยได้พุ่งความสนใจที่การทำานุบำารุงพระพุทธศาสนามากกว่าที่
            จะขยายราชอาณาจักรทำาให้อาณาจักรสุโขทัยได้เสื่อมอำานาจลงและล่มสลายไปในปี  1583  เนื่องจากถูกยึดอำานาจ
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14