Page 112 - หนูจะกินอะไรดี
P. 112
เผาพลาสติก-โฟม
...สร้างมลพิษ
ข้อมูล: สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม
การเผาขยะในบริเวณบ้านเป็นวิธีการกำจัดขยะ คัดแยกขยะ โดยเฉพาะขยะประเภทพลาสติก
ที่ค่อนข้างพบมากในพื้นที่ชนบท ขยะที่นำมาเผา และขยะที่สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ได้ออกจากขยะ
ส่วนใหญ่เป็นกระดาษ เศษกิ่งไม้ ใบไม้ และพลาสติก ที่ต้องนำไปกำจัด โดยอาจนำไปขายให้กับผู้ที่รับซื้อ
เมื่อเผาแล้วจะปล่อยสารหลายชนิดออกมาโดยไม่มี หรือนำไปใช้ใหม่
กระบวนการบำบัด ทำให้มลพิษแพร่กระจาย ลดการใช้ถุงพลาสติก ไม่ใช้ภาชนะ
เข้าไปในบ้านและในบรรยากาศ นำไปสู่การปนเปื้อน บรรจุอาหารประเภทกล่องโฟม หรือเลี่ยงการใช้
แหล่งน้ำและดิน บรรจุภัณฑ์ที่มีพีวีซีเป็นองค์ประกอบ ซึ่งปล่อย
การเผาขยะประเภทโฟม จะทำให้เกิดการ สารพิษได้หากนำมาเผา
ปล่อยก๊าซสไตรีน (Styrene) ที่สามารถถูกดูดซึม ซื้อสินค้าที่ใช้บรรจุภัณฑ์ที่มีความปลอดภัย
ผ่านผิวหนังและปอดได้ หากได้รับสารสไตรีน และสามารถนำกลับมาใช้ใหม่ได้ เช่น แก้ว ขวดแก้ว
ในระดับที่สูงจะทำอันตรายต่อตา และถ้าได้ เป็นต้น
รับสไตรีนในระยะยาวจะมีผลต่อระบบประสาท ขยะอินทรีย์ เช่น เศษอาหาร เศษกิ่งไม้ใบไม้
ส่วนกลาง ทำให้ปวดหัว อ่อนเพลีย อ่อนแอ สามารถนำมาหมักทำปุ๋ย เพื่อลดการกำจัดด้วย
และเกิดภาวะซึมเศร้า ส่วนการเผาไหม้พลาสติก การเผาในบริเวณบ้าน
ประเภทพีวีซีทำให้เกิดการปล่อยก๊าซไดออกซิน การกำจัดขยะด้วยการเผาอาจเป็นวิธี
ซึ่งเป็นสารพิษต่อระบบต่างๆ ในร่างกายของคน ที่ง่าย แต่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและ
เป็นสารก่อมะเร็ง และรบกวนการทำงานของระบบ สุขภาพอย่างมาก หากสามารถลดการเผาได้
ฮอร์โมน สามารถสะสมในร่างกายและถ่ายทอด ก็จะช่วยลดการเกิดมลพิษในบ้านและชุมชน
จากแม่ไปสู่ลูกได้โดยผ่านทางรก นอกจากนี้
มวลสารที่เกิดจากการเผายังสามารถเพิ่มความเสี่ยง
ต่อการเป็นโรคหัวใจ โรคระบบทางเดินหายใจ
เช่น โรคหอบหืด และเป็นสาเหตุของการเกิดผื่น
อาการคลื่นไส้ ปวดหัว ทำลายระบบประสาท ตับ ไต
ระบบสืบพันธุ์ แต่เราสามารถลดความเสี่ยงต่อมลพิษ
นี้ได้ดังนี้
ไม่เผาพลาสติกและขยะภายในบ้านหรือ
ในบริเวณบ้าน เพราะจะทำให้เกิดสารพิษที่เป็น
ผลกระทบต่อสุขภาพแก่คนในครอบครัว และผู้ที่
อาศัยอยู่ในบริเวณใกล้เคียง และยังเป็นการสร้าง
ความเดือดร้อนรำคาญให้แก่ผู้อื่นด้วย
กรมอนามัย ส่งเสริมให้คนไทยสุขภาพดี
กรมอนามัย ส่งเสริมให้คนไทยสุขภาพดี 111111