Page 211 - การเรียนรู้สู้ภัยธรรมชาติ 3 สค32032 (ม.ปลาย)
P. 211

4.  ปัจจัยส าคัญในการเกิดดินโคลนถล่ม ประกอบด้วยปัจจัยหลัก 4 ประการ ได้แก่

                             4.1 สภาพธรณีวิทยา ปกติชั้นดินที่เกิดการถล่มลงมาจากภูเขา เป็นชั้นดินที่เกิดจาก

               การผุกร่อนของหินให้เกิดเป็นดิน ซึ่งขึ้นอยู่กับชนิดของหินและโครงสร้างทางธรณีวิทยา

                             4.2 สภาพภูมิประเทศ สภาพภูมิประเทศที่ท้าให้เกิดดินถล่มได้ง่าย ได้แก่ภูเขาและ

               พื้นที่ที่มีความลาดชันสูง หรือมีทางน้้าคดเคี้ยวจ้านวนมาก

                             4.3 ปริมาณน้้าฝน ดินโคลนถล่มจะเกิดขึ้นเมื่อฝนตกหนักหรือตกต่อเนื่องเป็น

               เวลานาน น้้าฝนจะไหลซึมลงไปในชั้นดินจนชั้นดินอิ่มตัวด้วยน้้า ท้าให้ความดันของน้้าในดินเพิ่มขึ้น

               เป็นการเพิ่มความดันในช่องว่างของเม็ดดิน ดันให้ดินมีการเคลื่อนที่ลงมาตามลาดเขาได้ง่าย

                             4.4 สภาพสิ่งแวดล้อมสภาพสิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไป อาจท้าให้เกิดดินโคลน

               ถล่มได้  พื้นที่ต้นน้้า ล้าธาร ป่าไม้ ถูกท้าลายในหลาย ๆ จุด การบุกรุกท้าลายป่าไม้เพื่อท้าไร่และ

               ท้าการเกษตรบนที่สูง เป็นต้น


                           5. สัญญาณบอกเหตุก่อนเกิดดินโคลนถล่ม ก่อนเกิดเหตุการณ์ดินโคลนถล่มอาจ

               สังเกตได้จากสัญญาณ ดังต่อไปนี้

                             5.1 มีฝนตกหนักถึงหนักมากตลอดทั้งวัน

                             5.2 มีน้้าไหลซึมหรือน้้าพุพุ่งขึ้นมาจากใต้

                             5.3 ระดับน้้าในแม่น้้าล้าห้วยเพิ่มสูงขึ้นอย่างรวดเร็วผิดปกติ

                             5.4 สีของน้้ามีสีขุ่นมากกว่าปกติ เปลี่ยนเป็นเหมืองสีดินภูเขา

                             5.5 มีกิ่งไม้หรือท่อนไม้ไหลมากับกระแสน้้า

                             5.6 เกิดช่องทางเดินน้้าแยกขึ้นใหม่หรือหายไปจากเดิมอย่างรวดเร็ว

                             5.7 เกิดรอยแตกบนถนนหรือพื้นดินอย่างรวดเร็ว

                             5.8 ดินบริเวณฐานรากของตึกหรือสิ่งก่อสร้างเกิดการเคลื่อนตัวอย่างกะทันหัน
                             5.9 โครงสร้างต่าง ๆ เกิดการเคลื่อนหรือดันตัวขึ้น เช่น ถนน ก้าแพง


                             5.10 ต้นไม้ เสาไฟ รั้ว หรือก้าแพง เอียงหรือล้มลง เป็นต้น















                                              ชุดวิชา การเรียนรู้สู้ภัยธรรมชาติ 3 - 201
   206   207   208   209   210   211   212   213   214   215   216