Page 227 - การเรียนรู้สู้ภัยธรรมชาติ 3 สค32032 (ม.ปลาย)
P. 227

3) แบบเปลี่ยนรูป คือ แผ่นเปลือกโลกจ้านวนสองแผ่นเคลื่อนที่ในแนวนอนผ่านซึ่ง

               กันและกันซึ่งปลดปล่อยพลังงานมหาศาลออกมา ท้าให้มวลน้้าในมหาสมุทรเกิดการเคลื่อนไหว

               กลายเป็นคลื่นขนาดใหญ่ แผ่กระจายเป็นวงกว้างออกไปจากบริเวณที่เป็นจุดศูนย์กลางของ

               แผ่นดินไหว และเนื่องจากคลื่นชนิดนี้มิได้เกิดจากการขึ้นลงของน้้าทะเล


                             3. เมื่อเกิดสึนามิ จะเกิดผลกระทบที่มีต่อประเทศชาติอย่างไร

                                ส้าหรับผลกระทบที่ประเทศไทยได้รับจากพิบัติภัยคลื่นสึนามิ เมื่อวันที่ 26

               ธันวาคม พ.ศ. 2547  ส้าหรับประเทศไทย พิบัติภัยจากคลื่นสึนามิ ได้ก่อให้เกิดความตื่นตระหนก

               แก่ประชาชนทั่วทั้งประเทศ เพราะมีการสูญเสียทั้งชีวิตและทรัพย์สินของผู้คนเป็นจ้านวนมากใน 6

               จังหวัดภาคใต้ที่มีพื้นที่อยู่ติดกับชายฝั่งทะเลอันดามัน คือ ภูเก็ต พังงา ระนอง กระบี่ ตรัง และสตูล

               โดยเฉพาะที่จังหวัดพังงา กระบี่ และภูเก็ต มีการสูญเสียมากที่สุด เป็นพิบัติภัยทางธรรมชาติที่

               เกิดขึ้นอย่างรุนแรงและรวดเร็ว โดยไม่มีผู้ใดคาดคิดมาก่อน จึงไม่ได้มีการระมัดระวังและป้องกันไว้

               ล่วงหน้า

                                ผลกระทบตามมาท้าให้เกิดความเสียหายในหลาย ๆ ด้านได้แก่

                                1)  ความเสียหายด้านชีวิตและทรัพย์สิน  จ้านวนผู้เสียชีวิตที่เป็นคนต่างชาติมี

               ถึง 1,240 คน จากจ้านวนผู้เสียชีวิตทั้งหมด 5,309 คน นอกจากนี้ ยังมีผู้เสียชีวิตที่ไม่ทราบว่าเป็น

               คนไทยหรือคนต่างชาติอีก 2,341 คน ส่วนผู้สูญหายจ้านวนทั้งหมด 3,370 คน

                                    นอกจากจะมีผู้เสียชีวิต บาดเจ็บและสูญหายเป็นจ้านวนมากแล้ว ยังมีความ

               เสียหายที่เกิดขึ้นกับทรัพย์สิน เป็นจ้านวนมากเช่นกัน ได้แก่ อาคารของโรงแรมขนาดใหญ่ ที่พัก

               ของนักท่องเที่ยวประเภทบังกะโล และเกสต์เฮาส์ ร้านค้าและร้านอาหารบริเวณชายหาด บ้านเรือน

               ของราษฎรที่มีอาชีพทางการประมง ทรัพย์สินส่วนตัวของนักท่องเที่ยวที่ประสบภัย ยานพาหนะ

               เรือประมงและเรือของหน่วยงานราชการ  ตลอดจนสาธารณูปโภคของท้องถิ่น  เช่น ไฟฟ้า  ประปา
               โทรศัพท์ ถนนหนทาง ความเสียหายที่เกิดขึ้น กับทรัพย์สินเหล่านี้ ถ้าคิดเป็นมูลค่าแล้ว มีจ้านวน


               หลายพันล้านบาท
                                2) ความเสียหายด้านเศรษฐกิจความเสียหายด้านเศรษฐกิจที่ส้าคัญที่สุดคือ


               อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว เนื่องจาก บริเวณที่ได้รับพิบัติภัยหลายแห่งเป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่ได้รับ
               ความนิยมมาก มีการลงทุนสร้างโรงแรมที่พัก ในระดับต่างๆ รวมทั้งสิ่งอ้านวยความสะดวกแก่


               นักท่องเที่ยว นอกจากจะเสียหายในด้านทรัพย์สินแล้ว การหยุดกิจการของธุรกิจต่างๆ ที่ประสบ
               พิบัติภัยยังท้าให้บุคลากรเป็นจ้านวนมากต้องสูญเสียรายได้ ไม่ว่าจะเป็นเจ้าของกิจการเอง หรือ






                                              ชุดวิชา การเรียนรู้สู้ภัยธรรมชาติ 3 - 217
   222   223   224   225   226   227   228   229   230   231   232