Page 197 - การเรียนรู้สู้ภัยธรรมชาติ 3 สค32032 (ม.ปลาย)
P. 197

3. ลักษณะภูมิประเทศไม่อ้านวยจึงท้าให้บริเวณนั้นไม่มีแหล่งน้้าธรรมชาติขนาดใหญ่

               และถาวรหรืออยู่ใกล้ ภูมิประเทศลาดเอียงและดินไม่อุ้มน้้า ท้าให้การกักเก็บน้้าไว้ใช้ท้าได้ยาก เช่น

               ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย

                           4. พืชพันธุ์ธรรมชาติถูกท้าลายโดยเฉพาะพื้นที่ป่าต้นน้้าล้าธาร



               กิจกรรมที่ 1.4 บอกผลกระทบที่เกิดจากภัยแล้ง

               แนวตอบ  ผลกระทบที่เกิดจากภัยแล้ง ได้แก่

                           1. ด้านเศรษฐกิจ สิ้นเปลืองและสูญเสียผลผลิตด้านเกษตร ปศุสัตว์ ป่าไม้ การประมง

               เศรษฐกิจทั่วไป เช่น ราคาที่ดินลดลง โรงงานผลิตเสียหาย การว่างงาน สูญเสียอุตสาหกรรมการ

               ท่องเที่ยว ส่งผลให้รายได้ของประเทศลดลงก่อให้เกิดปัญหาทางเศรษฐกิจ

                           2. ด้านสิ่งแวดล้อม ส่งผลกระทบต่อสัตว์ต่าง ๆ ท้าให้ขาดแคลนน้้า เกิดโรคกับสัตว์

               สูญเสียความหลากหลายพันธุ์ รวมถึงผลกระทบด้านอุทกวิทยา ท้าให้ระดับและปริมาณน้้าลดลง

               พื้นที่ชุ่มน้้าลดลง ความเค็มของน้้าเปลี่ยนแปลง ระดับน้้าในดินเปลี่ยนแปลง คุณภาพน้้า

               เปลี่ยนแปลง เกิดการกัดเซาะของดิน ไฟป่าเพิ่มขึ้น ส่งผลต่อคุณภาพอากาศและสูญเสียทัศนียภาพ

               เป็นต้น

                           3. ด้านสังคม เกิดผลกระทบในด้านสุขภาพอนามัย เกิดความขัดแย้งในการใช้น้้าและ

               การจัดการคุณภาพชีวิตลดลง



               กิจกรรมที่ 1.5  ให้ผู้เรียนดูรูปภาพและตอบค าถามต่อไปนี้















               แนวตอบ  1) จากรูปภาพผู้เรียนมีความรู้สึกอย่างไร ผู้เรียนสามารถตอบได้ตามความรู้สึก

                           2) จากรูปภาพสื่อให้เห็นถึงภัยพิบัติอะไร  ภัยแล้ง

                           3) จากรูปภาพให้ผู้เรียนบอกสาเหตุของการเกิดภัยพิบัติดังกล่าว

                              สาเหตุของภัยแล้งเกิดขึ้นจากสาเหตุหลายประการ ทั้งจากการกระท้าของมนุษย์

               และจากธรรมชาติ



                                              ชุดวิชา การเรียนรู้สู้ภัยธรรมชาติ 3 - 187
   192   193   194   195   196   197   198   199   200   201   202