Page 7 - การเรียนรู้สู้ภัยธรรมชาติ 3 สค32032 (ม.ปลาย)
P. 7

10. บอกสถานการณ์ภัยแล้ง วาตภัย อุทกภัย ดินโคลนถล่ม ไฟป่า ห ม อกควัน

               แผ่นดินไหว และสึนามิในประเทศไทย

                        11. บอกสถิติการเกิดภัยแล้ง วาตภัย อุทกภัย ดินโคลนถล่ม ไฟป่า และสึนามิของ

               ประเทศไทย

                        12. บอกวิธีการเตรียมความพร้อมรับสถานการณ์การเกิดภัยแล้ง วาตภัย อุทกภัย

               ดินโคลนถล่ม ไฟป่า และสึนามิ

                        13. บอกวิธีการปฏิบัติขณะเกิดภัยแล้ง วาตภัย อุทกภัย ดินโคลนถล่ม ไฟป่า หมอกควัน

               แผ่นดินไหว และสึนามิ

                        14. บอกวิธีการปฏิบัติหลังเกิดภัยแล้ง วาตภัย อุทกภัย ดินโคลนถล่ม ไฟป่า หมอกควัน

               แผ่นดินไหว และสึนามิในประเทศไทย

                        15. ระบุบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยธรรมชาติต่าง ๆ

                        16. ระบุหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยธรรมชาติต่าง ๆ


               สาระส าคัญ


                        ภัยธรรมชาติ เป็นภัยที่สร้างความสูญเสียและเสียหายให้มวลมนุษยชาติอย่างประมาณค่า

               มิได้ ภัยธรรมชาติที่เกิดขึ้นบนโลกนี้มีหลายประเภท ไม่ว่าจะเป็นภัยแล้ง อุทกภัย วาตภัยอัคคีภัย

               แผ่นดินไหว แผ่นดินถล่ม ดินโคลนถล่ม รวมถึงภัยจากการสึนามิ ที่เกิดในท้องทะเล และส่งผล

               ความเสียหายมายังผู้พักอาศัยใกล้ทะเล ภัยแต่ละประเภทมีความรุนแรง สร้างความเสียหายและส่ง

               ผลกระทบต่อโลกมากมายแตกต่างกันออกไป ซึ่งภัยธรรมชาติส่วนใหญ่ มนุษย์ไม่สามารถคาดคะเน

               ได้ว่าเกิดแล้วจะมีความรุนแรงและสร้างความเสียหายให้มากน้อยเพียงใด  ถึงแม้ว่าจะมีการศึกษา

               เหตุการณ์จากอดีตมาแล้วก็ตาม แต่ก็ไม่สามารถระบุวัน เวลาที่จะเกิดภัยได้อย่างแม่นย า

               การศึกษาผลของภัยแต่ละชนิดและหาทางป้องกัน แก้ไข ติดตามข่าวสาร จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

               หรือรับผิดชอบโดยตรง จึงเป็นเรื่องส าคัญและจ าเป็นอย่างยิ่ง

















                                              ชุดวิชา การเรียนรู้สู้ภัยธรรมชาติ 3 -  จ
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12