Page 203 - การเรียนรู้สู้ภัยธรรมชาติ 3 สค32032 (ม.ปลาย)
P. 203

1.5 ผลจากลมมรสุมมีก าลังแรง มรสุมตะวันตกเฉียงใต้เป็นมรสุมที่พัดพาความชื้น

               จากมหาสมุทรอินเดียเข้าสู่ประเทศไทย ตั้งแต่เดือนพฤษภาคมถึงเดือนตุลาคม เมื่อมีก้าลังแรงเป็น

               ระยะเวลาหลายวัน ท้าให้เกิดคลื่นลมแรง ระดับน้้าในทะเลตามขอบฝั่งจะสูงขึ้น ประกอบกับมีฝน

               ตกหนักท้าให้เกิดน้้าท่วมได้ ยิ่งถ้ามีพายุเกิดขึ้นในทะเลจีนใต้ก็จะยิ่งเสริมให้มรสุมดังกล่าวมีก้าลัง

               แรงขึ้นอีก ส่วนมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือพัดจากประเทศจีนเข้าสู่ประเทศไทย ปะทะขอบฝั่ง

               ตะวันออกของภาคใต้ มรสุมนี้มีก้าลังแรงเป็นครั้งคราว เมื่อบริเวณความกดอากาศสูงในประเทศจีน

               มีก้าลังแรงขึ้นจะท้าให้มีคลื่นค่อนข้างใหญ่ในอ่าวไทย และระดับน้้าทะเลสูงกว่าปกติ บางครั้งท้าให้

               มีฝนตกหนักในภาคใต้ ตั้งแต่จังหวัดชุมพรลงไปท้าให้เกิดน้้าท่วมเป็นบริเวณกว้าง

                             1.6 ผลจากแผ่นดินไหวหรือภูเขาไฟระเบิด เมื่อเกิดแผ่นดินไหว หรือภูเขาไฟบน

               บกและภูเขาไฟใต้น้้าระเบิดเปลือกของผิวโลกบางส่วนจะได้รับความกระทบกระเทือนต่อเนื่องกัน

               บางส่วนของผิวโลกจะสูงขึ้นบางส่วนจะยุบลง ท้าให้เกิดคลื่นใหญ่ในมหาสมุทรซัดขึ้นฝั่ง เกิดน้้าท่วม

               ตามหมู่เกาะและเมืองตามชายฝั่งทะเลได้เกิดขึ้นบ่อยครั้งในมหาสมุทรแปซิฟิก


                           2. การกระท าของมนุษย์  ได้แก่

                             2.1 การตัดไม้ท าลายป่าในพื้นที่เสี่ยงภัย เมื่อเกิดฝนตกหนักจะท้าให้อัตราการไหล

               สูงสุดเพิ่มมากขึ้นและไหลมาเร็วขึ้นเป็นการเพิ่มความรุนแรงของน้้าในการท้าลายและยังเป็นสาเหตุ

               ของดินถล่มด้วย นอกจากนี้ยังท้าให้ดินและรากไม้ขนาดใหญ่ถูกชะล้างให้ไหลลงมาในท้องน้้า ท้าให้

               ท้องน้้าตื้นเขินไม่สามารถระบายน้้าได้ทันที ทั้งก่อให้เกิดความสูญเสียชีวิตและบาดเจ็บของ

               ประชาชนทางด้านท้ายน้้า

                             2.2 การขยายเขตเมืองลุกล้ าเข้าไปในพื้นที่ลุ่มต่ า ซึ่งเป็นแหล่งเก็บน้้าธรรมชาติ

               ท้าให้ไม่มีที่รับน้้า เมื่อน้้าล้นตลิ่งก็จะเข้าไปท่วมบริเวณที่เป็นพื้นที่ลุ่มต่้า ซึ่งเป็นเขตเมืองที่ขยาย

               ใหม่ก่อน

                             2.3 การก่อสร้างโครงสร้างขวางทางน้ าธรรมชาติ ท้าให้มีผลกระทบต่อการ

               ระบายน้้าและก่อให้เกิดปัญหาน้้าท่วม

                             2.4 การออกแบบทางระบายน้ าของถนนไม่เพียงพอ ท้าให้น้้าล้นเอ่อในเมือง ท้า

               ความเสียหายให้แก่ชุมชนเมืองใหญ่ เนื่องจากการระบายน้้าได้ช้ามาก

                             2.5 การบริหารจัดการน้ าที่ไม่ดี เป็นสาเหตุหนึ่งที่ท้าให้เกิดน้้าท่วมโดยเฉพาะ

               บริเวณด้านท้ายเขื่อนหรืออ่างเก็บน้้า







                                              ชุดวิชา การเรียนรู้สู้ภัยธรรมชาติ 3 - 193
   198   199   200   201   202   203   204   205   206   207   208