1 |
|
DELETE |
พท33017 |
คำประพันธ์ชนิดใด ถือว่าเป็นสัมผัสบังคับในคำประพันธ์ |
สัมผัสใน |
สัมผัสสระ |
สัมผัสนอก |
สัมผัสพยัญชนะ |
3 |
2 |
|
DELETE |
พท33017 |
“ปฏิภาณกวี ” หมายถึงผู้เชี่ยวชาญในการแต่งคำประพันธ์แบบใด |
แต่งโดยได้ฟังมา |
แต่งตามความจริง |
แต่งกลอนสดโดยใช้สติปัญญาไหวพริบ |
แต่งโดยความคิดและจินตนาการของตนเอง |
3 |
3 |
|
DELETE |
พท33017 |
บทร้อยกรองที่ใช้โต้ตอบกัน ทำนองตีฝีปาก โต้คารม หรือเกี้ยวพาราสี เรียกว่าอะไร |
ปฏิภาณ |
ปฏิพากย์ |
ปฏิสัมพันธ์ |
ปฏิสันถาร |
2 |
4 |
|
DELETE |
พท33017 |
“สุรางคนางค์” ในภาษาร้อยกรอง เป็นชื่อของอะไร |
ร่าย |
กาพย์ |
โคลง |
กลอน |
2 |
5 |
|
DELETE |
พท33017 |
ในการแต่งโคลง สามารถใช้คำตายแทนคำใดได้ |
คำเอก |
คำโท |
คำสัมผัส |
คำสร้อย |
1 |
6 |
|
DELETE |
พท33017 |
คำประพันธ์ชนิดใด มีสูตรที่ใช้ในการแต่งว่า “เอกเจ็ด โทสี่” |
ร่ายสุภาพ |
กาพย์ฉบัง |
โคลงสี่สุภาพ |
โคลงสองสุภาพ |
3 |
7 |
|
DELETE |
พท33017 |
“กาพย์ กลอน โคลง ฉันท์ ” เรียกรวมกันว่าอะไร |
ร้อยแก้ว |
ร้อยกรอง |
วรรณกรรม |
ฉันทลักษณ์ |
2 |
8 |
|
DELETE |
พท33017 |
“ คำประพันธ์ที่บัญญัติให้ใช้คำหรือสัมผัสเป็นชั้นเชิงยิ่งกว่าธรรมดา ” เรียกว่าอะไร |
คำนำ |
กลบท |
คำเสริม |
กระทู้ |
2 |
9 |
|
DELETE |
พท33017 |
คำประพันธ์ชนิดใด ที่มีคำขึ้นต้นบทนำว่า “เมื่อนั้น บัดนั้น ” |
กลอนนิราศ |
กลอนนิทาน |
กลอนบทละคร |
กลอนดอกสร้อย |
3 |
10 |
|
DELETE |
พท33017 |
กลอนชนิดใดที่เขียนขึ้นเพื่อแสดงความรัก เหมือนเป็นจดหมายรักคำกลอน |
กลอนสด |
กลอนนิราศ |
กลอนเปล่า |
กลอนเพลงยาว |
4 |
11 |
|
DELETE |
พท33017 |
ในตำราหลักภาษาไทย “วจีวิภาค” หมายถึงอะไร |
รู้วิธีเขียนและสะกดคำได้ถูกต้อง |
รู้วิธีนำถ้อยคำมาเรียงเป็นประโยค |
รู้กฎเกณฑ์และแบบแผนของคำประพันธ์แต่ละประเภท |
ว่าคำชนิดไหนเป็นคำนาม คำกริยา ฯลฯ และรู้ความหมายของคำ |
4 |
12 |
|
DELETE |
พท33017 |
กลอนดอกสร้อย-สักวา บทหนึ่งจะมีคำกลอนกี่วรรค |
แปดวรรค |
สิบวรรค |
สิบสี่วรรค |
สิบสองวรรค |
1 |
13 |
|
DELETE |
พท33017 |
กาพย์ชนิดใด นิยมใช้เป็นบทพากย์โขน |
กาพย์ยานี 11 |
กาพย์ฉบัง |
กาพย์ขับไม้ |
กาพย์สุรางคนางค์ |
2 |
14 |
|
DELETE |
พท33017 |
คำประพันธ์ชนิดใด มีสูตรที่ใช้ในการแต่งว่า “เอกสาม โทสาม” |
ร่ายสุภาพ |
กาพย์ฉบัง |
โคลงสี่สุภาพ |
โคลงสองสุภาพ |
4 |
15 |
|
DELETE |
พท33017 |
คำประพันธ์ชนิดหนึ่ง ที่ใช้โคลงและร่ายต่อสัมผัสกันเป็นเรื่องราว เรียกว่าอะไร |
ลิลิต |
กลบท |
โคลงดั้น |
เพลงยาว |
1 |
16 |
|
DELETE |
พท33017 |
“ข้อความอันเป็นเค้าเงื่อนนำหน้าบทกลอนหรือโคลง แล้วแต่ตามเค้าเงื่อนนั้น” เรียกว่าอะไร |
คำนำ |
กระทู้ |
กลบท |
คำเสริม |
2 |
17 |
|
DELETE |
พท33017 |
เรื่อง “ มหาเวสสันดรชาดก ” แต่งเป็นคำประพันธ์ชนิดใด |
ร่ายยาว |
ร่ายสุภาพ |
โคลงสี่สุภาพ |
โคลงสองสุภาพ |
1 |
18 |
|
DELETE |
พท33017 |
ข้อใดไม่ใช่ชื่อกลอนกลบท |
จัตวาทัณฑี |
ตรีเพชรพวง |
กินนรเก็บบัว |
ครอบจักรวาล |
1 |
19 |
|
DELETE |
พท33017 |
คำสัมผัสชนิดใด เป็นสัมผัสที่ไม่บังคับในฉันทลักษณ์ |
สัมผัสใน |
สัมผัสนอก |
สัมผัสสระ |
สัมผัสระหว่างบท |
1 |
20 |
|
DELETE |
พท33017 |
เรื่องราวที่พรรณนาถึงการจากกันเพื่อเดินทางไปแห่งใดแห่งหนึ่ง และรำพันถึงคนรัก เรียกว่าอะไร |
นิราศ |
เพลงยาว |
บทละคร |
กวีนิพนธ์ |
1 |
21 |
|
DELETE |
พท33017 |
กาพย์ชนิดใดที่บทหนึ่งมี 7 วรรค วรรคหนึ่งมี 4 คำ |
กาพย์ฉบัง |
กาพย์ยานี 11 |
กาพย์แห่เรือ |
กาพย์สุรางคนางค์ |
4 |
22 |
|
DELETE |
พท33017 |
เพลงชาน้อง จัดเป็นเพลงกล่อมเด็กของภาคใด |
ภาคใต้ |
ภาคเหนือ |
ภาคอีสาน |
ภาคกลาง |
1 |
23 |
|
DELETE |
พท33017 |
เพลงตุ้มโมง ของชาวสุรินทร์ใช้ร้องในงานพิธีใด |
งานศพ |
งานแต่งงาน |
งานบวชนาค |
งานเซิ้งบั้งไฟ |
1 |
24 |
|
DELETE |
พท33017 |
“งานปอย ” ของภาคเหนือ นิยมเล่นเพลงชนิดใด |
เพลงอื่อ |
เพลงซอ |
เพลงจ๊อย |
ถูกหมดทุกข้อ |
2 |
25 |
|
DELETE |
พท33017 |
ข้อใดไม่ใช่เพลงประกอบการเล่นของเด็ก |
เพลงแม่งู |
เพลงแม่ศรี |
เพลงแมงมุม |
เพลงรีรีข้าวสาร |
2 |
26 |
|
DELETE |
พท33017 |
พิธีกรรมใดไม่ต้องใช้เพลงพื้นบ้านประกอบ |
พิธีบวชนาค |
พิธีแห่นางแมว |
พิธีแห่บั้งไฟ |
พิธีแรกนาขวัญ |
4 |
27 |
|
DELETE |
พท33017 |
ปัจจุบันเพลงอีแซว เป็นที่รู้จักกันดีกว่าเป็นเพลงพื้นบ้านของจังหวัดใด |
กาญจนบุรี |
สุพรรณบุรี |
นครราชสีมา |
นครศรีธรรมราช |
2 |
28 |
|
DELETE |
พท33017 |
เพลงพื้นบ้านข้อใด ที่นิยมเล่นในประเพณีชักพระของภาคใต้ |
เพลงนา |
เพลงเรือ |
เพลงบอก |
เพลงต้นหยง |
2 |
29 |
|
DELETE |
พท33017 |
เพลงที่นิยมเล่นในฤดูเกี่ยวข้าวของภาคกลาง คือเพลงใด |
เพลงเหย่ย |
เพลงคล้องช้าง |
เพลงพวงมาลัย |
เพลงเต้นกำรำเคียว |
4 |
30 |
|
DELETE |
พท33017 |
เพลงเงี้ยว ของภาคเหนือ จะมีทำนองของชนชาติใด |
พม่า |
มอญ |
กระเหรี่ยง |
ไทยใหญ่ |
4 |
31 |
|
DELETE |
พท33017 |
เพลงคำตัก เป็นเพลงพื้นบ้านภาคใต้ที่นิยมเล่นในงานพิธีใด |
งานศพ |
งานชักพระ |
งานแต่งงาน |
งานบวชนาค |
4 |
32 |
|
DELETE |
พท33017 |
เพลงพื้นบ้านภาคใต้ ชนิดใดที่มีลักษณะคล้ายการเล่นลำตัดของทางภาคกลาง |
ลิเกฮูลู |
เพลงบอก |
เพลงโนรา |
เพลงตะลุง |
1 |
33 |
|
DELETE |
พท33017 |
เพลงชักกระดาน ของชาวอำเภอบางแพ จังหวีดราชบุรี นิยมร้องเล่นกันในฤดูกาลใด |
เกี่ยวข้าว |
นวดข้าว |
สงกรานต์ |
ออกพรรษา |
2 |
34 |
|
DELETE |
พท33017 |
กลอนชนิดใดที่เขียนขึ้นเพื่อแสดงความรัก เหมือนเป็นจดหมายรักคำกลอน |
กลอนสด |
กลอนเปล่า |
กลอนนิราศ |
กลอนเพลงยาว |
4 |
35 |
|
DELETE |
พท33017 |
บทร้อยกรองที่บรรยายถึงการร่วมสังวาส โดยใช้สัญลักษณ์แทนการพูดตรงๆ เรียกว่าอะไร |
บทอัศจรรย์ |
บทกวีนิพนธ์ |
บทปฏิพากย์ |
บทเข้าพระเข้านาง |
1 |
36 |
|
DELETE |
พท33017 |
คำประพันธ์ข้างล่างนี้ อยู่ในวรรณคดีเรื่องอะไร “พฤษภกาสร อีกกุญชรอันปลดปลง โททนต์เสน่งคง สำคัญหมายในกายมี” |
สามัคคีเภท |
กาพย์เห่เรือ |
โคลงโลกนิติ |
กฤษณามาสอนน้อง |
4 |
37 |
|
DELETE |
พท33017 |
“ไก่ฟ้ามาตัวเดียว เดินท่องเที่ยวเลี้ยวเหลี่ยมเขา เหมือนพรากจากนงเยาว์ เปล่าใจเปลี่ยวเหลียวหานาง” จากคำประพันธ์มีลีลากลอนหรือรสวรรณคดีตรงกับข้อใด |
เสนารจนี |
พิโรธวาทัง |
นารีปราโมทย์ |
สัลลาปังคพิสัย |
4 |
38 |
|
DELETE |
พท33017 |
“เอวองค์ทรงลักษณ์พักตร์พริ้ม ยามยิ้มยั่วแย้มแจ่มหน้า รังสีแสงไสนัยนา ไต้หล้าปราศเปรียบเทียบทัน” จากคำประพันธ์มีลีลากลอนหรือรสวรรณคดีตรงกับข้อใด |
เสนารจนี |
พิโรธวาทัง |
นารีปราโมทย์ |
สัลลาปังคพิสัย |
1 |
39 |
|
DELETE |
พท33017 |
เรื่อง “กามนิต” ของเสถียรโกเศศและนาคะประทีป แต่งเป็นคำประพันธ์ชนิดใด |
ลิลิต |
ร่ายยาว |
ร้อยแก้ว |
ร้อยกรอง |
3 |
40 |
|
DELETE |
พท33017 |
“บทอาศิรวาท” หมายถึงอะไร |
คำอวยพรที่ผู้น้อยใช้กับผู้บังคับบัญชา |
คำบูชารำลึกถึงพระพุทธคุณ |
คำอวยพรที่พ่อแม่ ญาติผู้ใหญ่มีให้แก่ลูกหลาน |
คำถวายพระพรพระมหากษัตริย์และพระบรมวงศานุวงศ์แต่งเป็นบทร้อยกรอง |
4 |