1 |
|
DELETE |
พท32010 |
ตำราเรียนภาษาไทยเล่มแรกของไทย คืออะไร |
อิเหนา |
จินดามณี |
แบบเรียนเร็ว |
สมุทรโฆษคำฉันท์ |
2 |
2 |
|
DELETE |
พท32010 |
ข้อใดเป็นคำสรรพนาม |
ฉัน-ผม-เธอ |
แขน-ขา-มือ |
พ่อ-แม่-พี่ |
ผอม-อ้วน-เขียว-ดำ |
1 |
3 |
|
DELETE |
พท32010 |
ข้อใดเป็น “คำตาย” ทุกคำ |
ฟัง-ตน-ยาม |
เชย-พราว-กิน |
บิด-ตรวจ-พบ |
คำ-ใบ-ไม่ |
3 |
4 |
|
DELETE |
พท32010 |
“คำซ้ำ” ข้อใดถูกต้อง |
ในตู้นี้มีหนังสือดี ๆ ให้อ่าน |
บ้านนี้ อยู่เป็นสุข |
ดูเนื้อตัวมอมแมม |
เบิกบานใจทุกวัน |
1 |
5 |
|
DELETE |
พท32010 |
“คำซ้อน” คือข้อใด |
แถว ๆ |
กะเร่อกะร่า |
ดี ๆ ชั่ว ๆ |
กะเร่อ ๆ กะร่า ๆ |
2 |
6 |
|
DELETE |
พท32010 |
คำว่า “ภูมิศาสตร์” อ่านถูกต้อง คือข้อใด |
ภูม-สาด |
ภูมิ-ศาสตร์ |
พู-มิ-สาด |
ภู-มิ-ศาสตร์ |
3 |
7 |
|
DELETE |
พท32010 |
คำภาษาบาลีว่า “อลงฺการ” ภาษาไทยคือข้อใด |
อไลการ |
อลงการ |
อลงกร |
อลังการ |
4 |
8 |
|
DELETE |
พท32010 |
ทุกภาษาจะมีการเริ่มต้นด้วยภาษาใดก่อน |
ภาษาใบ้ |
ภาษาพูด |
ภาษาเขียน |
ภาษาตัวอักษร |
2 |
9 |
|
DELETE |
พท32010 |
ภาษามีการเปลี่ยนแปลง คำว่า “ท่านนาย” ควรเป็นคำใด |
ท่านาย |
เจ้านาย |
ทำนาย |
ทนาย |
4 |
10 |
|
DELETE |
พท32010 |
ภาษาทุกภาษามีอะไรที่เหมือนกัน |
มีคำนาม-คำกริยา |
ความหมายของคำ |
วิธีเขียนอักษร |
จำนวนคนพูด |
1 |
11 |
|
DELETE |
พท32010 |
ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับภาษามีความแตกต่างกัน |
ทุกภาษามีสำนวน |
มีวิธีการสร้างคำศัพท์ใหม่ |
ใช้เสียงในการสื่อสารความหมาย |
ทุกภาษามีความแตกต่างกันในด้านเสียง |
4 |
12 |
|
DELETE |
พท32010 |
ระดับของภาษาหมายถึงอะไร |
ระดับการพูดของชนชั้นสูง-ต่ำ |
ความลดหลั่นของถ้อยคำจากต่ำไปหาสูง |
ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลที่เป็นผู้พูด |
การเรียบเรียงถ้อยคำที่ใช้ตามโอกาสและกาลเทศะ |
4 |
13 |
|
DELETE |
พท32010 |
ภาษาแบ่งออกเป็น 3 ระดับ คือ |
ภาษาระดับทางการ-กึ่งทางการ-ไม่เป็นทางการ |
ภาษาพูด-ภาษาเขียน-ภาษาท่าทาง |
ภาษาท่าทาง-ภาษาสัญลักษณ์-ภาษาพูด |
ภาษาราชการ-ภาษาไม่ใช่ราชการ-ภาษาพูด |
1 |
14 |
|
DELETE |
พท32010 |
ข้อใดเป็นภาษาแบบแผน |
การพูดทางวิทยุ |
ตำราวิชาการ |
การพูดสนทนา |
การพูดติดต่องาน |
2 |
15 |
|
DELETE |
พท32010 |
“ภาษากึ่งแบบแผน” ควรเป็นการพูดแบบใด |
วันชัยพูดออกรายการวิทยุ |
วันดีสอนหนังสือที่โรงเรียน |
วันชาติพิมพ์หนังสือราชการ |
วันทนาคุยกับสามีทางโทรศัพท์ |
1 |
16 |
|
DELETE |
พท32010 |
คำหยาบ “ไอ้นั่น ไอ้นี่” เปลี่ยนเป็นคำสุภาพ คือข้อใด |
นั่น-นี่ |
อย่างนี้-อย่างโน้น |
สิ่งนั้น-สิ่งนี้ |
คุณทำอย่างไรดีครับ |
3 |
17 |
|
DELETE |
พท32010 |
ข้อใดใช้คำว่า “พระบรม” ถูกต้อง |
พระบรมรูปถ่าย |
พระบรมราโชวาท |
พระบรมโองการ |
พระบรมราชอุถัมภ์ |
2 |
18 |
|
DELETE |
พท32010 |
ข้อใดใช้ราชาศัพท์ “ทรง” ไม่ถูกต้อง |
ทรงศีล |
ทรงบาตร |
ทรงบรรทม |
ทรงม้า |
3 |
19 |
|
DELETE |
พท32010 |
ภาษาไทยมีเสียงวรรณยุกต์ สูงต่ำ เพื่ออะไร |
บอกคำที่มาจากภาษาอื่น |
บอกความหมายของคำ |
บอกคำนาม คำกริยา |
บอกเพศ บอกอายุ |
2 |
20 |
|
DELETE |
พท32010 |
คำว่า “ขัน” ที่คำกริยา คือข้อใด |
ขันตักน้ำ |
เขาพูดน่าขบขัน |
เขาไปซื้อขัน |
ไก่ขันยามเช้าไพเราะมาก |
4 |
21 |
|
DELETE |
พท32010 |
จงเติมคำในช่องว่าง “ช้าง ๓ ................, แม่น้ำ ๒ ....................” |
ตัว - เส้น |
เชือก – สาย |
ตัว – ลำ |
คอก – เส้น |
2 |
22 |
|
DELETE |
พท32010 |
การรับของสมนาคุณที่เขาเอามาให้โดยไม่ได้เรียกร้องตรงกับสำนวนไทย คือข้อใด |
กินตามน้ำ |
ขนมผสมน้ำยา |
คมในฝัก |
จับเสือมือเปล่า |
1 |
23 |
|
DELETE |
พท32010 |
ประโยคเชิงคำสั่ง คือข้อใด |
ไปหลายวันไหม |
ให้ขนมกินทุกวัน |
อย่าเดินลัดสนาม |
กรุณาเดินชิดขอบถนน |
3 |
24 |
|
DELETE |
พท32010 |
สำนวนไทยที่มาจากวัฒนธรรมประเพณี คืออะไร |
ข้าวแดงแกงร้อน |
เข้าตามตรอกออกตามประตู |
ผ้าเหลืองร้อน |
ปิดทองหลังพระ |
2 |
25 |
|
DELETE |
พท32010 |
จากสำนวนไทยที่ว่า “ลูกไม้หล่นไม่ไกลต้น” หมายถึงอะไร |
ลูกมีนิสัยดีเหมือนครอบครัวและวงศ์ตระกูล |
การจะทำอะไรให้ดูตาม้าตาเรือให้ดีเสียก่อน |
ตามธรรมชาติผลไม้หล่นไม่ไกลจากต้นเดิม |
พ่อแม่มีนิสัยอย่างไร ลูกก็มีนิสัยอย่างนั้น |
4 |
26 |
|
DELETE |
พท32010 |
“ถ้อยคำหรือข้อความที่กล่าวเป็นกลาง ๆ เพื่อให้ตีความเข้ากับเรื่อง” หมายถึงคำอะไร |
สำนวน |
สุภาษิต |
คำพังเพย |
คำคม |
3 |
27 |
|
DELETE |
พท32010 |
ข้อใดเป็นคำสุภาษิต |
ขี่ช้างจับตั๊กแตน |
กินปูนร้อนท้อง |
ปลูกเรือนตามใจผู้อยู่ |
คบคนให้ดูหน้า ซื้อผ้าให้ดูเนื้อ |
4 |
28 |
|
DELETE |
พท32010 |
ปัจจุบันหน่วยงานใด มีหน้าที่พิจารณาศัพท์บัญญัติ |
ราชบัณฑิตยสถาน |
กรมศิลปากร |
หอสมุดแห่งชาติ |
กรรมการวัฒนธรรม |
1 |
29 |
|
DELETE |
พท32010 |
การบัญญัติศัพท์ ควรพิจารณาอย่างไร |
ต้องเป็นภาษาไทยเท่านั้น |
ควรใช้คำไทยก่อน |
ยึดหลักภาษาเดิม |
ทับศัพท์ภาษาอังกฤษ |
2 |
30 |
|
DELETE |
พท32010 |
ข้อใดเป็นศัพท์บัญญัติทางสังคมศาสตร์ |
ตัวประกอบ |
นโยบาย |
ชราภาพ |
ประยุกต์ |
2 |
31 |
|
DELETE |
พท32010 |
คำว่า “แอลฟา – แคโรทีน” เป็นศัพท์เฉพาะสาขาใด |
สุขศึกษา |
สังคมศาสตร์ |
คณิตสาสตร์ |
ช่างยนต์ |
1 |
32 |
|
DELETE |
พท32010 |
ข้อใดเป็นศัพท์ทางด้านการค้าขาย |
โฆษณา |
สื่อสิ่งพิมพ์ |
กำไรสุทธิ |
เงินงวด |
3 |
33 |
|
DELETE |
พท32010 |
การศึกษาในปัจจุบัน มุ่งให้ผู้เรียนเป็นแบบใด |
ควรเรียนรู้ด้วยตนเองทั้งหมดไม่พึ่งตำรา |
การเรียนรู้ในยุคนี้ควรเคร่งครัดในการดูตำรา |
รู้จักแสวงหาความรู้โดยการค้นคว้าจากแหล่งเรียนรู้ |
การเรียนรู้ของนักศึกษาให้เป็นไปตามที่ครูสั่งให้ทำ |
3 |
34 |
|
DELETE |
พท32010 |
สื่อใดสามารถเรียนรู้ในอินเตอร์เน็ตได้สะดวก รวดเร็ว |
สื่อห้องสมุดประชาชน |
สื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง |
สื่ออิเล็กทรอนิกส์ |
สื่อหนังสือ |
3 |
35 |
|
DELETE |
พท32010 |
ห้องสมุด คือ อะไร |
แหล่งรวบรวมหนังสืออ้างอิงทุกประเภท |
แหล่งทำงานของบรรณารักษ์และเจ้าหน้าที่ห้องสมุด |
แหล่งรวบรวมหนังสือหมวดต่าง ๆ ทุกประเภท |
แหล่งรวบรวมทรัพยากรสารสนเทศทุกประเภท |
4 |
36 |
|
DELETE |
พท32010 |
ข้อใดไม่ใช่ความสำคัญของห้องสมุด |
เป็นที่ ๆ ทุกคนเข้าค้นคว้าได้ |
แหล่งพักผ่อนหย่อนใจ |
ส่งเสริมการรักการอ่าน |
รู้จักใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ |
2 |
37 |
|
DELETE |
พท32010 |
เว็ปไซด์ของสำนักงาน กศน. มีระบบออนไลน์การเรียนรู้ในด้านใด |
หางานทำ |
โหราศาสตร์ |
ท่องเที่ยวอุทยาน |
E-Learning |
4 |
38 |
|
DELETE |
พท32010 |
ถ้าต้องการเรียนรู้จากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ของสำนักงานส่งเสริมการเรียนรู้(สกร.) ควรเข้าเว็ปไซด์ใด |
www.home.dsd.go.th |
www.nfe.go.th |
www.wikipedia.org |
www.tlcthai.com |
1 |
39 |
|
DELETE |
พท32010 |
ข้อใดเป็น “คำสมาส” ทุกคำ |
กรรมกร-ราชการ |
ราชานุญาต-ราชูปถัมภ์ |
ราชูทิศ-ชโลทร |
ราโชบาย-นิรภัย |
1 |