1 |
|
DELETE |
ทช21003 |
ข้อใดเป็นทัศนธาตุที่ให้ความรู้สึก ความตื้นและความลึกในงานทัศนศิลป์ |
คน |
สัตว์ |
ทิวทัศน์ |
ตามจินตนาการ |
3 |
2 |
|
DELETE |
ทช21003 |
หลักการทางทัศนียภาพ (Perspective) นิยมนำมาใช้ในการเขียนภาพประเภทใด |
เส้น |
พื้นผิว |
รูปร่าง |
แสงเงา |
4 |
3 |
|
DELETE |
ทช21003 |
เส้นประเภทใดที่ช่างเขียนภาพมักจะนำมาใช้เป็นส่วนใหญ่ในการเขียนภาพจิตรกรรมไทย |
เส้นตรง |
เส้นโค้ง |
เส้นหยัก |
เส้นเฉียง |
2 |
4 |
|
DELETE |
ทช21003 |
การปั้น แกะสลัก และการหล่อ คือ ศิลปะข้อใด |
ภาพพิมพ์ |
จิตกรรม |
ประติมากรรม |
สถาปัตยกรรม |
3 |
5 |
|
DELETE |
ทช21003 |
วัสดุที่ใช้ในการพิมพ์ภาพ แบ่งเป็นกี่ประเภท |
1 ประเภท |
2 ประเภท |
3 ประเภท |
4 ประเภท |
2 |
6 |
|
DELETE |
ทช21003 |
ภาพความงามของแม่น้ำที่ช่างเขียนภาพนำมาถ่ายทอดในงานจิตรกรรมไทยเพื่อเหตุผลในข้อใด |
เป็นที่อยู่ของสัตว์หิมพานต์ |
ถ่ายทอดการดำเนินชีวิตของผู้คน |
ใช้ในพิธีกรรมของพระมหากษัตริย์ |
ถ่ายทอดความรู้สึกที่แสดงออกทางอารมณ์ |
2 |
7 |
|
DELETE |
ทช21003 |
ความงามของแม่น้ำนำมาใช้ในงานจิตรกรรมไทยในลักษณะใดมากที่สุด |
แสดงที่อยู่ของสัตว์หิมพานต์ |
ใช้ในพิธีกรรมของพระมหากษัตริย์ |
ถ่ายทอดเรื่องราวการดำเนินชีวิตของผู้คน |
แสดงการแบ่งชนชั้นของกษัตริย์กับประชาชน |
3 |
8 |
|
DELETE |
ทช21003 |
การรับรู้ความงามตามธรรมชาติในการสร้างงานศิลปะของแต่ละคนมีความแตกต่างกันขึ้นอยู่กับสิ่งใด |
ทัศนคติ อารมณ์ และความรู้สึก |
สถานการณ์ในขณะนั้น |
สภาพแวดล้อม |
วุฒิการศึกษา |
1 |
9 |
|
DELETE |
ทช21003 |
ข้อใดเป็นผู้ที่นำความงามจากธรรมชาติมาสร้างสรรค์ในงานทัศนศิลป์ไทยได้ตรงที่สุด |
ชูใจ วาดภาพลายไทยตามแบบที่กำหนด |
พลพล ปั้นเครื่องปั้นดินเผาบ้านเชียงได้เหมือนมาก |
เมตตา เขียนลายรดน้ำตามจินตนาการจากธรรมชาติ |
อำนาจ วาดภาพพระที่นั่งจักรีมหาปราสาทตามเพื่อน |
3 |
10 |
|
DELETE |
ทช21003 |
วัสดุธรรมชาติชนิดใดที่นิยมนำมาใช้ในการทำฝาผนังเรือนเครื่องผูก |
ไม้ไผ่ |
ใบลาน |
หญ้าคา |
ใบตอง |
1 |
11 |
|
DELETE |
ทช21003 |
ส่วนใดของบ้านเรือนไทยไม่นิยมนำลวดลายธรรมชาติมาประดับ |
ฝาผนัง |
ช่องลม |
พื้นบ้าน |
ระเบียงบ้าน |
3 |
12 |
|
DELETE |
ทช21003 |
ในการเขียนลายประจำยามนั้น โครงสร้างเขียนขึ้นจากรูปทรงของลายใด |
ลายกระจังตาอ้อย |
ลายฟันปลา |
ลายภาพ |
ลายนก |
1 |
13 |
|
DELETE |
ทช21003 |
เหตุผลข้อใดที่สนับสนุนคำกล่าวที่ว่า “ผลงานทัศนศิลป์สามารถสะท้อนวัฒนธรรม” ได้ถูกต้องที่สุด |
ผลงานทัศนศิลป์สร้างขึ้นมาจากความคิดของมนุษย์ |
มนุษย์สร้างผลงานทัศนศิลป์เลียนแบบผลงานทัศนศิลป์ที่มีอยู่ |
ศิลปินพัฒนาเทคนิค วิธีการในการสร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์ให้สอดคล้องกับวัฒนธรรม |
วัฒนธรรมเป็นแรงผลักดันทำให้เกิดการสร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์ ขณะเดียวกันผลงานทัศนศิลป์ก็ ถ่ายทอดเรื่องราวของวัฒนธรรม |
4 |
14 |
|
DELETE |
ทช21003 |
การมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์โบราณสถานของผู้เข้าชมโบราณสถาน ข้อใดเหมาะสมที่สุด |
ซ่อมแซมซากโบราณสถานที่ชำรุดในชุมชน |
ปล่อยให้เป็นหน้าที่ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง |
ปฏิบัติตามกฎระเบียบการเข้าชมโบราณสถานอย่างเคร่งครัด |
ติดป้ายเชิญชวนให้ทุกคนร่วมกันอนุรักษ์โบราณสถานในชุมชน |
3 |
15 |
|
DELETE |
ทช21003 |
ใครสร้างงานทัศนศิลป์ประเภทจิตรกรรมที่สะท้อนถึงคุณค่าของวัฒนธรรมไทย |
แอมแกะสลักรูปคุณปู่ |
เอ้พิมพ์ภาพด้วยเศษวัสดุ |
เด่นปั้นตุ๊กตาตัวการ์ตูนที่ชื่นชอบ |
ก้อยวาดภาพประเพณีการแห่เทียนพรรษา |
4 |
16 |
|
DELETE |
ทช21003 |
ข้อใดคือประโยชน์และความสำคัญของดนตรีไทย |
เป็นเครื่องมือในการช่วยลดน้ำหนัก |
เป็นช่องทางในการติดต่อของมิจฉาชีพ |
เป็นส่วนประกอบในการทำธุรกิจครอบครัว |
ช่วยพัฒนาคุณภาพของจิตใจ และเป็นสื่อกลางของกิจกรรม ประเพณีต่างๆ |
4 |
17 |
|
DELETE |
ทช21003 |
ยุคทองของดนตรีไทย ตรงกับรัชกาลที่เท่าไร |
รัชกาลที่ 1 |
รัชกาลที่ 2 |
รัชกาลที่ 3 |
รัชกาลที่ 4 |
2 |
18 |
|
DELETE |
ทช21003 |
วงปี่พาทย์ วงมโหรี และวงเครื่องสายมีขึ้นในสมัยใด |
กรุงธนบุรี |
กรุงสุโขทัย |
กรงศรีอยุธยา |
กรุงรัตนโกสินทร์ |
3 |
19 |
|
DELETE |
ทช21003 |
วงปี่พาทย์ เป็นวงดนตรีที่ประกอบด้วยเครื่องดนตรีประเภทใดเป็นหลัก |
สีและตี |
ตีและเป่า |
ดีดและสี |
เป่าและดีด |
2 |
20 |
|
DELETE |
ทช21003 |
วิธีการสีซอที่ถูกต้องมีลักษณะอย่างไร |
มือขวาจับคันซอ มือซ้ายจับคันชัก |
มือซ้ายจับคันซอ มือขวาจับคันชัก |
วางซอบนพื้นด้านหน้าของตนเอง |
นั่งพับเพียบ ลำตัวเอียงไปข้างใดข้างหนึ่ง |
3 |
21 |
|
DELETE |
ทช21003 |
เพราะเหตุใด ต้องลดสายซอและเอาหย่องออกทุกครั้งที่บรรเลงเสร็จ |
เพราะสายซอมีขนาดเล็กต้องลดสายแล้วเอา หย่องออกเพื่อป้องกันสายขาด |
เพราะหย่องซอมีขนาดเล็ก ต้องเอาออกเพื่อป้องกันการสูญหาย |
เพราะสายซอจะกอทับหย่องเป็นรอยทำให้ไม่สวยงาม |
เพราะสายซอจะกดทับหย่อง ทำให้หน้าซอยุบลงอาจทำให้ขาดได้ |
4 |
22 |
|
DELETE |
ทช21003 |
ความไพเราะของวงปี่พาทย์ดึกดำบรรพ์ คือข้อใด |
ความราบเรียบ เงียบสงบ และนุ่มนวล |
ความดังกระหึ่ม เงียบสงบ และโลดโผน |
ความดังกึกก้อง โลดโผน และสนุกสนาน |
อารมณ์เด่นชัดของระนาดเอกที่ใช้ไม้แข็งบรรเลง |
1 |
23 |
|
DELETE |
ทช21003 |
คุณค่าและประโยชน์ของดนตรีไทยนำมาใช้ด้านใดบ้าง |
ด้านการศึกษา , ด้านจิตวิทยา |
ด้านการแพทย์ , ด้านกีฬา |
ด้านสังคม , ด้านการศึกษา |
ถูกทุกข้อ |
4 |
24 |
|
DELETE |
ทช21003 |
สมโชค แต่งเพลงเกี่ยวกับหลักคำสอนของพ่อเพื่อให้มีความเข้าใจและจดจำคำสอนต่างๆ ได้ง่ายยิ่งขึ้น แสดงว่าสมโชคได้นำดนตรีไปประยุกต์ใช้ในด้านใด |
ดนตรีกับธุรกิจ |
ดนตรีกับการศึกษา |
ดนตรีกับการผ่อนคลาย |
ดนตรีกับการบำบัดรักษา |
4 |
25 |
|
DELETE |
ทช21003 |
นาฎศิลป์ไทย มีต้นกำเนิดจากข้อใด |
จากธรรมชาติกำหนดขึ้น |
จากการสร้างสรรค์ของมนุษย์ |
จากเหตุการณ์ที่สำคัญต้องมีการจารึกเอาไว้ |
จากความรู้สึกที่แสดงออกทางอารมณ์ของมนุษย์ |
4 |
26 |
|
DELETE |
ทช21003 |
ข้อใดเป็นองค์ประกอบของงานนาฎศิลป์ทางด้านจิตรกรรม |
การสร้างศีรษะโขน |
การสร้างฉากการแสดงตามยุคสมัย |
การออกแบบอุปกรณ์การแสดงโขน |
การเขียนลวดลายไทยบนศีรษะโขน |
4 |
27 |
|
DELETE |
ทช21003 |
การแสดงที่เป็นเอกลักษณ์ของท้องถิ่นด้านการแต่งการ คนตรีประกอบการแสดง และท่าทางการแสดงตามท้องถิ่น คือการแสดงนาฏศิลป์ประเภทใด |
โขน |
ละคร |
ระบำรำฟ้อน |
การแสดงพื้นเมือง |
4 |
28 |
|
DELETE |
ทช21003 |
องค์ประกอบใด ที่นักแสดงบนเวทีโน้มน้าว อารมณ์ผู้ชม ได้น้อยที่สุด |
น้ำเสียง |
อุปนิสัย |
การแสดงสีหน้า |
การแสดงท่าทาง |
2 |
29 |
|
DELETE |
ทช21003 |
ประโยชน์ที่ได้รับจากการเลือกชมการแสดงนาฎศิลป์ที่ตนเองสนใจ คือข้อใด |
ได้รู้จักนักแสดง |
ได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ |
ได้รับการยกย่องที่ได้เข้าไปชมการแสดง |
ได้รับคติสอนใจจากเรื่องที่ชมการแสดงและนำมาปรับใช้ในชีวิต |
4 |
30 |
|
DELETE |
ทช21003 |
ท่ารำ “สอดสร้อยมาลา” มีลักษณะเป็นอย่างไร |
เป็นท่ารำที่ประกอบไปด้วยการตั้งวงล่างและจีบหงาย ชายพก |
เป็นท่ารำที่ประกอบไปด้วยการตั้งวงบนและจีบหงาย ชายพก |
เป็นท่ารำที่ประกอบไปด้วยการตั้งวงบัวบานและ จีบส่งหลัง |
เป็นท่ารำที่ประกอบไปด้วยการตั้งวงหน้าและ ส่งจีบหลัง |
2 |
31 |
|
DELETE |
ทช21003 |
ภาษาท่าทางที่สื่อความหมายว่า “มอง” ปลายนิ้วอยู่ในลักษณะ ตรงกับข้อใด |
ขนานกับระดับคิ้ว |
ขนานกับระดับตา |
ขนานกับระดับปาก |
ขนานกับระดับหู |
1 |
32 |
|
DELETE |
ทช21003 |
“ใช้มือข้างใดข้างหนึ่งวางแตะแก้ม มืออีกข้างจีบหลังเอียงใบหน้าตามมือที่แตะ” เป็นการสื่อ ความหมายของท่ารำใด |
ท่ารัก |
ท่าอาย |
ท่าเสียใจ |
ท่าโกรธ |
2 |
33 |
|
DELETE |
ทช21003 |
ข้อใดคือประโยชน์ของการอนุรักษ์นาฏศิลป์ |
เพื่อให้นาฏศิลป์ให้มีความทันสมัยมากขึ้น |
เพื่อให้การแสดงนาฏศิลป์มีความน่าสนใจจากผู้ชมมากขึ้น |
เพื่อให้ให้นาฏศิลป์ไทยได้มีโอกาสไปเผยแพร่ยังต่างประเทศ |
เพื่อให้นาฏศิลป์ไทยให้คงอยู่ตลอดไป |
4 |
34 |
|
DELETE |
ทช21003 |
การแสดงท่าดมกลิ่น เกี่ยวข้องกับการใช้อวัยวะข้อใด |
หู |
ตา |
จมูก |
หน้าผาก |
3 |
35 |
|
DELETE |
ทช21003 |
รำวงมาตรฐาน กำเนิดมาจากศิลปะการแสดงในข้อใด |
รำโทน |
ระบำ |
เซิ้ง |
ร่าย |
1 |
36 |
|
DELETE |
ทช21003 |
ข้อใดเป็นการนำท่ารำวงมาตรฐานมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน ได้อย่างเหมาะสม |
แสงดาว ฝึกรำอวยพร |
ดวงเดือน ฝึกซ้อมรำเซิ้งทุกวัน |
จันทร์ฉาย ชวนเพื่อนๆรำไทเก็กทุกวัน |
น้ำค้างชวนเพื่อนๆ เต้นแอโรบิกโดยใช้เพลงรำวงทุกเย็น |
4 |
37 |
|
DELETE |
ทช21003 |
การแสดงนาฏศิลป์ประเภทใดที่ใช้ผู้เล่าเรื่องเพียงคนเดียวตลอดการแสดง |
ลิเก |
หมอลำ |
มโนราห์ |
หนังตะลุง |
4 |
38 |
|
DELETE |
ทช21003 |
ข้อใดคือแนวทาง การอนุรักษ์ ภูมิปัญญา ประเพณี ทางนาฏศิลป์ |
การปลูกจิตสำนึกให้กับคนในท้องถิ่น |
การเผยแพร่โดยการค้าขายระหว่างประเทศ |
การนำไปปรับเปลี่ยนตามเทคโนโลยีสมัยใหม่ |
การทำสัญญาระหว่างผู้ซื้อกับผู้ขายด้วยวิธีการต่างๆ |
1 |
39 |
|
DELETE |
ทช21003 |
าชีพนาฏศิลป์ไทย ข้อใดต่อไปนี้ ถูกต้อง |
โขน - ภาคเหนือ |
หมอลำ - ภาพกลาง |
หนังตะลุง - ภาคใต้ |
ฟ้อนเล็บ - ภาคอีสาน |
3 |
40 |
|
DELETE |
ทช21003 |
ข้อใดเรียงลำดับขั้นตอนการแสดงลิเกได้ถูกต้อง |
ไหว้ครู – โหมโรง – ออกแขก |
โหมโรง – ไหว้ครู – ออกแขก |
ไหว้ครู – ออกแขก – รำถวายมือ |
โหมโรง – ออกแขก – รำถวายมือ |
2 |